บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2017

สมาชิกการจัดการ60ห้องA

อาจารย์ ธภัทร  ชัยชูโชค อาจารย์ ปาล์ม 001 นางสาวกรรภิรมณ์ ติระพัฒน์   เอิง 002 นายก้องเกียรติ ศิลป์ภูศักดิ์    อัด 003 นายเกียรติศักดิ์ ดำด้วง   เอ็ม 004 นายจีรุฒม์ ศรีราม   บิ๊ก 005 นายชนัตถ์ จันทร์วงค์  นัท 006 007 นายสาวฐานิญา ซังเอียด  เเพง 008 009 010 นายตะวัน เเซ่ซำ  การ์ด 011 นายธนพงษ์ ไชยนุรักษ์  บูม 012 นายธวัช บัวเเก่น   บอล 013 นางสาวธิดารัตน์ เรืองเหมือน  เเพร 015 นายนันทวุฒิ ช่วยมณี  บ่าว 016 นายนิติกรณ์ ยอดสุวรรณ์  น๊อต 018 นายประพัฒน์พังษ์ ทองเอม  นุ๊ก 017 018 019 นายปิยวิทย์ สังข์เศรษฐ์ วิทย์ 020 021 นางสาวเพชรลดา สุวรรณเดชา  ฝน 022 023 นายภาคภูมิ ใจสมุทร ภูมิ 024 นายมูฮัยมีน ยะเลซู   มิง 025 นายยูโซฟ ใบตาเย๊ะ  นัน 026 นายรุซดีย์ ยะลิน  ดี 027 นางสาวลัดดาวรรณ เเก้วเจริญ  ปาล์ม 028 นายวรายุทธ ชูบุญลาภ  เเม็ก 029 030 นางสาววารีซ่า บาราสัน  วา 031 นางสาวศเร๊าะ หมัดบก  ต้า 032 นายศัตยา เเซ่เอี่ยม  เเดน 033 034 นายสถิตย์ พิชัยบัณฑิตย์   เเสน 035 036 นายสิทธิพร บำเพิง   บูม 037 นางสาวสุทธิณี บุญธรรม   พิกุล 038 นางสาวสุธารส หมื่นชนม

ระบบขนถ่ายอัตโนมัติ

รูปภาพ
สายพานลำเลียง  สายพานลำเลียง  (Conveyor Belt System) คือ ระบบลำเลียงเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ ชิ้นงาน ผลิตภัณฑ์หรือลำเลียงกระสอบจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยใช้สายพานลำเลียง (Belt) และมอเตอร์เกียร์เป็นตัวขับเคลื่อน สายพานลำเลียงกระสอบ  หลังจากผ่านกระบวนต่าง ๆ ของทางโรงงานเรียบร้อยแล้วและต้องการเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ไปที่ต้องการ ดังนั้นระบบ สายพานลำเลียง จึงเหมาะกับโรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภททั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่     ระบบ สายพานลำเลียงกระสอบ  หลัก ๆ แบ่งได้   อยู่ 3 ประเภท   1.สายพานลำเลียงกระสอบแบบยาง (Pvc Belt) สายพานลำเลียงแบบยาง (Pvc Belt) สายพานลำเลียงกระสอบแบบยาง (Pvc Belt Conveyor System) สำหรับลำเลียงผลิตภัณฑ์ที่น้ำหนักไม่มาก สามารถทนความร้อนได้สูง เนื่องจากเป็นเนื้อสายพานที่มีราคาไม่สูงทำให้นิยมนำมาใช้กับอุตสาหกรรมอาหาร (Food Grade) เพราะผลิตภัณฑ์ที่มีน้ำหนักเบาและต้องการความสะอาดเป็นส่วนมาก ตัวเนื้อสายพานผลิตจากยางหน้าเรียบนำมาต่อกับเป็นเส้นโดยใช้ระบบแบบการต่อฟันปลา 2. สายพานลำเลียงกระสอบแบบไม้ (Wood Slat Conveyor) สายพานลำเลียงกระสอบแบบไม้ (Wood Slat)

หุ่นยนต์อุตสาหกรรม

รูปภาพ
หุ่นยนต์อุตสาหกรรม (Industrial Robot Type) หุ่นยนต์อุตสาหกรรม (Industrial Robot Type)  อุตสาหกรรมในประเทศไทยจะเห็นได้ว่ามีการนำเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ (Automation Technology) เข้ามาใช้งานเพื่อให้สินค้าสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ ทั้งในเรื่องราคา และคุณภาพ โดยเฉพาะในเรื่องคุณภาพ อาจเนื่องจากมีการเปลี่ยนรุ่นผลิตภัณฑ์อยู่บ่อยๆ ต้องใช้เวลาในการ Set Up ปัจจุบันจึงมีการนำเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาใช้ หนึ่งในเทคโนโลยีที่มีความยืดหยุ่นสูง ได้แก่ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม เนื่องจากการเปลี่ยนการทำงานสามารถทำได้โดยการเปลี่ยนโปรแกรม นอกจากนี้คุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้มีความสม่ำเสมอเป็นมาตรฐานเดียวกัน การทำงานของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมจะเลียนแบบร่างกายของมนุษย์ โดยจะเลียนแบบเฉพาะส่วนของร่างกายที่จะนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมเท่านั้น นั่นคือช่วงแขนของมนุษย์ ดังนั้น บางคนอาจจะได้ยินคำว่า “แขนกล” ซึ่งก็หมายถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม การทำงานของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเปรียบเทียบกับแขนมนุษย์ แสดงดังรูป ปัจจุบันและในอนาคตหุ่นยนต์อุตสาหกรรมจะเข้ามามีบทบาทในอุตสาหกรรมมากขึ้น โดยจะทำงานแทนมนุษย์ในงานต่างๆ เหล่านี้

เครื่องจักร NC

รูปภาพ
ความหมายของ  NC NC   ย่อมาจาก  Numerical Control  หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง  NC  ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม  NC.  ระบบ  NC  ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1950  ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. ในปัจจุบันระบบ  NC  จะถูกแทนที่ด้วยระบบ  CNC  เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ  NC  ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน  อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย  NC   ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว. รูปภาพเครื่องจักรกล NC ความหมายของ DNC Distribution Numerical Control: DNC SYSTEM คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์กลางในการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนและกระจายข้อมูลซึ่งในที่นี้คือ โปรแกรม NC Data กับหน่วยควบคุม NC ของเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละตัวได้เพื่อเป็นศูนย์กลางในการบริการข้อมูลทั้งรับข้อมูล และส่งข้อมูลจำเพราะให้กับเครื่องจักรกลระบบ CNC แต่ละเครื่องในเครือข่ายตามที่แต่ละเครื่องต้องการพร้อมๆ กันได้ในเวลาเดียวกัน           SUPER-DNC